000 | 07820nam a2200421 i 4500 | ||
---|---|---|---|
003 | UTCC | ||
005 | 20210719130826.0 | ||
007 | cr ||||||||||| | ||
008 | 210611s2019 th sm 000 0 tha d | ||
040 |
_aUTCC _btha _cUTCC _erda |
||
082 |
_a658.155 _bอ626ค |
||
100 | 0 |
_9302487 _aอาภัสชญา ดิเรกศิลป์, _eผู้แต่ง |
|
245 | 1 | 0 |
_aโครงสร้างเงินทุนและคุณภาพกําไรของบริษัทจดทะเบียนในกลุ่มอุตสาหกรรมสินค้าอุปโภคบริโภคในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย / _cอาภัสชญา ดิเรกศิลป์. |
264 | 1 | _c2562. | |
300 | _aOnline resource. | ||
336 |
_2rdacontent _atxt |
||
337 |
_2rdamedia _ac |
||
338 |
_2rdacarrier _acr |
||
502 | _aการศึกษาค้นคว้าอิสระ (การบัญชี)) -- มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 2562. | ||
520 | _aการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโครงสร้างเงินทุนและคุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนในกลุ่มอุตสาหกรรมสินค้าอุปโภคบริโภคในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากงบการเงินประจำปี พ.ศ. 2557 - 2561 รวม 5 ปี จำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษามี 19 บริษัทต่อปี รวม 95 ตัวอย่าง โดยผู้วิจัยวัดตัวแปรอิสระโครงสร้างเงินทุนด้วยอัตราส่วนหนี้สินรวมต่อสินทรัพย์รวม และอัตราส่วนหนี้สินระยะยาวต่อสินทรัพย์รวม วัดตัวแปรตามคุณภาพกำไรด้วยดัชนีกระแสเงินสดจากการดำเนินงาน และผู้วิจัยยังกำหนดตัวแปรควบคุม คือ หมวดธุรกิจในอุตสาหกรรมสินค้าอุปโภคบริโภค เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาและทดสอบสมมติฐานประกอบด้วย สถิติเชิงเชิงพรรณนา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ เพียร์สัน การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ และการวิเคราะห์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลง ผลการศึกษาพบว่า 1) บริษัทส่วนใหญ่มีอัตราส่วนหนี้สินรวมต่อสินทรัพย์รวมแสดงค่าผันผวน ซึ่งชี้ให้เห็นว่ามีการกู้ยืมไม่สม่ำเสมอ หากศึกษาปีพ.ศ. 2561 พบว่า บริษัทส่วนใหญ่มีอัตราส่วนหนี้สินรวมต่อสินทรัพย์รวมมีค่าอยู่ระหว่าง 0.50 ถึง 0.10 เท่า ชี้ให้เห็นว่ากิจการมีความสามารถจ่ายชำระคืนดอกเบี้ยและภาระผูกพันธ์ได้ 2) บริษัทส่วนใหญ่มีอัตราส่วนหนี้สินระยะยาวต่อสินทรัพย์รวมแสดงค่าผันผวน ซึ่งชี้ให้เห็นว่ามีการกู้ยืมไม่สม่ำเสมอหรืออาจมีการจ่ายชำระคืนเมื่อถึงเวลากำหนดตามสัญญากู้ยืม หากศึกษาปี พ.ศ. 2561 พบว่า บริษัทส่วนใหญ่ มีอัตราส่วนหนี้สินระยะยาวต่อสินทรัพย์รวมมีค่าอยู่ระหว่าง 0.09 ถึง 0.01 เท่า ชี้ให้เห็นว่ากิจการมีสินทรัพย์ที่ได้จากการกู้ยืมหนี้สินระยะสั้นมากกว่ากู้ยืมหนี้สินระยะยาว 3) บริษัทส่วนใหญ่มีดัชนีกระแสเงินสดจากการดำเนินงาน ซึ่งชี้ให้เห็นถึงความสามารถในการทำกำไรไม่สม่ำเสมอ หากศึกษาปี พ.ศ. 2561 พบว่า บริษัทส่วนใหญ่มีดัชนีกระแสเงินสดจากการดำเนินงานแสดงค่าเป็นบวก และมีค่ามากกว่า 1 ซึ่งอยู่ระหว่าง 1.11 ถึง 8.20 เท่า ชี้ให้เห็นว่ากำไรทางบัญชีทั้งหมดสามารถเปลี่ยนเป็นกำไรสุทธิตามเกณฑ์เงินสดได้ถือว่ากำไรมีคุณภาพ 4) โครงสร้างเงินทุนที่วัดด้วยอัตราส่วนหนี้รวมสินต่อสินทรัพย์รวม (DA) และอัตราส่วนหนี้สินระยะยาวต่อสินทรัพย์รวม (LDA) ไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพกำไรที่วัดด้วยดัชนีกระแสเงินสดจากการดำเนินงาน นอกจากนี้พบว่าหมวดธุรกิจ (SEC) ไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพกำไรที่วัดด้วยดัชนีกระแสเงินสดจากการดำเนินงาน | ||
650 | 4 |
_999 _aเงินทุน. |
|
650 | 4 |
_9211033 _aกำไรของบริษัท. |
|
650 | 4 |
_93225 _aกำไร. |
|
650 | 4 |
_950834 _aบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย |
|
653 | _aโครงสร้างเงินทุน | ||
653 | _aคุณภาพกําไร | ||
700 | 0 |
_964510 _aอรฤดี ศรีธราพิพัฒน์, _eที่ปรึกษา |
|
710 | 2 |
_9143796 _aมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. _bสาขาวิชาการบัญชี. |
|
850 | _aUTCC | ||
856 | 7 | 8 | _uhttps://scholar.utcc.ac.th/handle/6626976254/4271 |
942 |
_cIS _2ddc |
||
998 |
_aSY _cUP |
||
999 |
_c310948 _d310948 |